Get Adobe Flash player

เมนูหลัก

ลิงค์หน่วยงานราชการ

ออนไลน์

We have 14 guests and no members online

สถิติเยี่ยมชม

3548613
สถิติวันนี้
สถิติเมื่อวานนี้
สถิติสัปดาห์นี้
สถิติสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถิติเดือนนี้
สถิติเดือนที่ผ่านมา
สถิติทั้งหมด
987
2335
13676
3516302
70997
94564
3548613
ไอพีของคุณคือ : 35.172.193.238
Server Time: 2024-03-28 22:47:18
ข้อมูล

ข้อมูล (39)

Thursday, 25 October 2018 02:05

แผนพัฒนาเทศบาล

Written by

แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน

เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีพ.ศ.2564

 

    มาตรฐานถนน ทางเดินและทางเท้า  มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
    มาตรฐานการป้องกันอุบัติภัยทางถนน  มาตรฐานสะพาน
    มาตรฐานไฟฟ้าสาธารณะ  มาตรฐานการบริหารระบบไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
    มาตรฐานอ่างเก็บน้ำและเขื่อนขนาดเล็ก  มาตรฐานสถานีขนส่งทางบก
    มาตรฐานทางระบายน้ำ  มาตรฐานสถานีขนส่งทางน้ำ
    มาตรฐานการป้องกันและระงับอัคคีภัย  มาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    มาตรฐานการประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง  มาตรฐานด้านการทะเบียนและการอนุญาต
    มาตรฐานการกำกับดูแลโรงงาน  มาตรฐานด้านการเปรียบเทียบปรับ
    มาตรฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล  มาตรฐานหอกระจายข่าว
    มาตรฐานการบำบัดน้ำเสีย  มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะ
    มาตรฐานระบบน้ำสะอาด  มาตรฐานหอพัก
    มาตรฐานการก่อสร้าง บูรณะ และการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ  มาตรฐานสุสานและฌาปนสถาน
    มาตรฐานการควบคุมอาคาร  มาตรฐานโรงฆ่าสัตว์
    มาตรฐานการวางผังเมือง  มาตรฐานงานสาธารณสุขมูลฐาน
    มาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ  มาตรฐานการจัดการศึกษาท้องถิ่น
    มาตรฐานการพัฒนาเด็กและเยาวชน  มาตรฐานการส่งเสริมการพัฒนาสตรี
    มาตรฐานศูนย์การเรียนรู้ชุมชน  มาตรฐานการพัฒนาการดำเนินงานด้านเอดส์
    มาตรฐานสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ  มาตรฐานการพัฒนาและสงเคราะห์ผู้พิการ
    มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท.  มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา
 มาตรฐานการจัดการที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย  มาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภค
 มาตรฐานการส่งเสริมการท่องเที่ยว  มาตรฐานการตลาด
 มาตรฐานการส่งเสริมอาชีพ  มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
 มาตรฐานการพัฒนาป่าชุมชน  มาตรฐานการดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์
 มาตรฐานการดูแลโบราณสถาน  มาตรฐานการส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น
 สรุปสาระสำคัญมาตรฐานการบริการสาธารณะของ อปท.
    มาตรฐานถนน ทางเดินและทางเท้า  มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
    มาตรฐานการป้องกันอุบัติภัยทางถนน  มาตรฐานสะพาน
    มาตรฐานไฟฟ้าสาธารณะ  มาตรฐานการบริหารระบบไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
    มาตรฐานอ่างเก็บน้ำและเขื่อนขนาดเล็ก  มาตรฐานสถานีขนส่งทางบก
    มาตรฐานทางระบายน้ำ  มาตรฐานสถานีขนส่งทางน้ำ
    มาตรฐานการป้องกันและระงับอัคคีภัย  มาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    มาตรฐานการประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิง  มาตรฐานด้านการทะเบียนและการอนุญาต
    มาตรฐานการกำกับดูแลโรงงาน  มาตรฐานด้านการเปรียบเทียบปรับ
    มาตรฐานการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล  มาตรฐานหอกระจายข่าว
    มาตรฐานการบำบัดน้ำเสีย  มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะ
    มาตรฐานระบบน้ำสะอาด  มาตรฐานหอพัก
    มาตรฐานการก่อสร้าง บูรณะ และการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ  มาตรฐานสุสานและฌาปนสถาน
    มาตรฐานการควบคุมอาคาร  มาตรฐานโรงฆ่าสัตว์
    มาตรฐานการวางผังเมือง  มาตรฐานงานสาธารณสุขมูลฐาน
    มาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ  มาตรฐานการจัดการศึกษาท้องถิ่น
    มาตรฐานการพัฒนาเด็กและเยาวชน  มาตรฐานการส่งเสริมการพัฒนาสตรี
    มาตรฐานศูนย์การเรียนรู้ชุมชน  มาตรฐานการพัฒนาการดำเนินงานด้านเอดส์
    มาตรฐานสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ  มาตรฐานการพัฒนาและสงเคราะห์ผู้พิการ
    มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท.  มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา
 มาตรฐานการจัดการที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย  มาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภค
 มาตรฐานการส่งเสริมการท่องเที่ยว  มาตรฐานการตลาด
 มาตรฐานการส่งเสริมอาชีพ  มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
 มาตรฐานการพัฒนาป่าชุมชน  มาตรฐานการดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์
 มาตรฐานการดูแลโบราณสถาน  มาตรฐานการส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น
 สรุปสาระสำคัญมาตรฐานการบริการสาธารณะของ อปท.  

แผนดำเนินงานประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๑

 มาตรา ๕๐ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบล มีหน้าที่ต้องทำให้เขตเทศบาล ดังต่อไปนี้

(๑) รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(๒) ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ
(๓) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
(๔) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ
(๕) ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
(๖) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
(๗) *ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
(๘) **บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(๙) **หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล

มาตรา ๕๑*** ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลอาจจัดทำกิจกรรมใด ๆ ในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้
(๑) ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา
(๒) ให้มีโรงฆ่าสัตว์
(๓) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม
(๔) ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
(๕) บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร
(๖) ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้
(๗) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(๘) ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ
(๙) เทศพาณิชย์

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตำบลเมยวดี

Wednesday, 10 February 2016 04:48

footer

Written by

เทศบาลตำบลเมยวดี หมู่ 6 ตำบลเมยวดี อำเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด
โทรติดต่อ 043577117  web-admin : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

 

วิสัยทัศน์ (Vison)

           "เทศบาลตำบลเมยวดี ยึดหลักธรรมาภิบาล


            ประสาน ป้องกันและปราบปรามการทุจริต "

 

 

พันธกิจ ( Mission )

        1. เสริมสร้างจิตสำนึกและค่านิยม ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้กับเจ้าหน้าที่ของเทศบาลตำบลเมยวดียึดหลัก ธรรมาภิบาล

        2. บูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อเสริมสร้าง และพัฒนาเครือข่ายด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของเทศบาลตำบลเมยวดี

        3. ส่งเสริมบทบาทภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

        4. สร้างกลไกและพัฒนาระบบการตรวจสอบ ถ่วงดุลการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของเทศบาลตำบล   คลองโยง ให้มีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

        5. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของเทศบาลตำบล  คลองโยง อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

 

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์

           ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลเมยวดี มีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions) เพิ่มขึ้น

วัตถุประสงค์หลัก      

           1. สังคมมีพฤติกรรมร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง 

           2. เกิดวัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) มุ่งต้านการทุจริตในทุกภาคส่วน

           3. การทุจริตถูกยับยั้งอย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรม กลไกป้องกันการทุจริต และระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

           4. การปราบปรามการทุจริตและการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรม และได้รับความร่วมมือจากประชาชน   

           5. ดัชนีการรับรู้การทุจริต(Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมีค่าคะแนน ในระดับที่สูงขึ้น

 

StartPrev123NextEnd
Page 3 of 3